In today's competitive market, the value of a business isn't solely determined by its tangible assets. More often than not, intangible assetssuch as brand reputation, trademarks, patents, and digital platformsplay a pivotal role in defining a company's worth. Understanding and accurately valuating these assets can significantly influence decision-making, investment strategies, and overall business growth.
หนึ่งวัตถุประสงค์การประเมินมูลค่ากิจการที่พบได้บ่อย คือ วัตถุประสงค์เพื่อ "Entire Business Transfer (EBT) หรือ การโอนกิจการทั้งหมด"
เครื่องหมายการค้า (Trademark) หรือ ชื่อทางการค้า (Trade Name) หรือแบรนด์ (Brand) เป็นหนึ่งใน ทรัพย์สินไม่มีตัวตน ที่สามารถประเมินมูลค่าได้
บริษัท ยูเค แวลูเอชั่น แอนด์ เอเจนซี่ จำกัด ให้บริการ การประเมินมูลค่ายุติธรรมของ “โครงการเสนอขายหุ้นสามัญที่ออกใหม่ให้แก่พนักงาน (ESOP)” ซึ่งถือเป็น “รายการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ที่ชำระด้วยตราสารทุน” (Equity-settled share-based payment transaction) ทั้งนี้ เพื่อประกอบมาตรฐานรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 เรื่อง การจ่ายโดยใช้หุ้น เป็นเกณฑ์ (TFRS 2 – Share-Based Payment)
The increase in trade and the emergence of corporations resulting from increased globalization of business have had a major impact on all facets of business, including marketing research.
จากข้อมูลและตัวเลขที่มีการซื้อขายเปลี่ยนมือนั้น ได้มีการรวบรวมเป็นข้อมูลทางสถิติ ทำให้ทราบว่า อุตสาหกรรมการผลิตมีการรับรู้มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ต่างๆ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การรวมธุรกิจ ได้แก่ สินทรัพย์มีตัวตน สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ค่าความนิยม และภาษีค้างจ่าย
จากข้อมูลและตัวเลขที่มีการซื้อขายเปลี่ยนมือนั้น ได้มีการรวบรวมเป็นข้อมูลทางสถิติ ทำให้ทราบว่า ธุรกิจการให้บริการทางการเงิน มีการรับรู้มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ต่างๆ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง การรวมธุรกิจ ได้แก่ สินทรัพย์มีตัวตน สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ค่าความนิยม และภาษีค้างจ่าย
จากข้อมูลและตัวเลขที่มีการซื้อขายเปลี่ยนมือนั้น ได้มีการรวบรวมเป็นข้อมูลทางสถิติ ทำให้ทราบว่า ธุรกิจเกี่ยวกับสุขภาพ มีการรับรู้มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ต่างๆ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง การรวมธุรกิจ ได้แก่ สินทรัพย์มีตัวตน สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ค่าความนิยม และภาษีค้างจ่าย
จากข้อมูลและตัวเลขที่มีการซื้อขายเปลี่ยนมือนั้น ได้มีการรวบรวมเป็นข้อมูลทางสถิติ ทำให้ทราบว่า ธุรกิจและสินค้าอุปโภคและบริโภค มีการรับรู้มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ต่างๆ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง การรวมธุรกิจ ได้แก่ สินทรัพย์มีตัวตน สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ค่าความนิยม และภาษีค้างจ่าย
จากข้อมูลและตัวเลขที่มีการซื้อขายเปลี่ยนมือนั้น ได้มีการรวบรวมเป็นข้อมูลทางสถิติ ทำให้ทราบว่า ธุรกิจค้าปลีก และสินค้าอุปโภคและบริโภค มีการรับรู้มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ต่างๆ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง การรวมธุรกิจ ได้แก่ สินทรัพย์มีตัวตน สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ค่าความนิยม และภาษีค้างจ่าย
จากข้อมูลและตัวเลขที่มีการซื้อขายเปลี่ยนมือนั้น ได้มีการรวบรวมเป็นข้อมูลทางสถิติ ทำให้ทราบว่า ธุรกิจพลังงานและสาธารณูปโภค มีการรับรู้มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ต่างๆ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง การรวมธุรกิจ ได้แก่ สินทรัพย์มีตัวตน สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ค่าความนิยม และภาษีค้างจ่าย
นับแต่วิชาชีพประเมินมูลค่าทรัพย์สิน (Independent Appraisers / Valuers) เข้าสู่ประเทศไทยในปี พ.ศ. 2517 หรือประมาณ 38 ปีที่ผ่านมา ในช่วงเวลานั้นความต้องการประเมินมูลค่าทรัพย์สินยังจำกัดวงแคบแต่เพียงบริษัทในประเทศที่มีขนาดใหญ่ บริษัทข้ามชาติ และธนาคารต่างประเทศทั้งที่เปิดเต็มรูปแบบ และเป็นเพียงสำนักงานตัวแทนเท่านั้น ซึ่งมีการเติบโตในด้านอุปสงค์ (Demand) และอุปทาน (Supply) ที่เป็นไปอย่างเชื่องช้า
ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property) และทรัพย์สินไม่มีตัวตน (Intangible Assets) ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่มีการรับรู้มูลค่ายุติธรรมในงบการเงินของกิจการในปี 2557 โดยแยกตามกลุ่มอุตสาหกรรมของตลาดหลักทรัพย์ฯ ทั้งหมด 6 กลุ่ม
ทรัพย์สินภายใต้ร่างพระราชบัญญัติหลักประกันทางธุรกิจ พ.ศ 2558 ที่สามารถใช้เป็นหลักประกันทางธุรกิจ
วิธีการบัญชีใหม่ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 (IFRS 16) เรื่องสัญญาเช่า จึงกำหนดให้ผู้เช่ารับรู้สิทธิการใช้สินทรัพย์เป็นสินทรัพย์ (right-of-use asset) และรับรู้หนี้สินจากภาระผูกพันที่เกิดขึ้นจากสัญญาเช่าเข้ามาในงบการเงิน
ปัจจุบันกระแสความนิยมการบริโภคกาแฟในร้านกาแฟในปั้มน้ำมันได้เพิ่มสูงขึ้น โดยดูได้จากปริมาณร้านกาแฟหลายๆ แบรนด์ในปั้มน้ำมัน ไม่ว่าจะเป็น คาเฟ่อเมซอน อินทนิล ราบิก้า แบล็กแคนยอน คาเฟดิโอโร่ บ้านไร่กาแฟ ไนตี้โฟร์ แกรนด์คอฟฟี่บอย เป็นต้น
ในทุกยุคทุกสมัย ไม่ว่าเกษตรกรที่ปลูกพืชไร่ หรือพืชสวน ทุกคนล้วนแต่ต้องการให้ผลผลิตของตนเองมีคุณภาพดีและมีปริมาณมาก และสิ่งที่จะเป็นตัวช่วยในการเพิ่มผลผลิตได้เป็นอย่างดี ก็คือ ปุ๋ย
ธุรกิจขายตรงเป็นช่องทางค้าปลีกช่องทางหนึ่งสำหรับบุคคลที่ชื่นชอบความสะดวก สบาย เพราะมีผู้ขายมานำเสนอสินค้าถึงที่บ้านหรือที่ทำงาน สามารถเลือกสินค้าได้จากแคตตาล็อก ทำการจัดส่งทางไปรษณีย์หรือผู้ขายนำสินค้าไปส่งให้ถึงบ้าน โดยที่ผู้ซื้อไม่ต้องไปถึงร้านค้า หรือซุปเปอร์มาร์เก็ต อีกทั้งในปัจจุบันยังเพิ่มความสะดวกสบายให้กับผู้ซื้ออีกมากมาย อาทิเช่น การที่ผู้ซื้อโทรศัพท์สั่งสินค้า และสินค้าสามารถส่งถึงมือผู้ซื้อภายใน 24 - 48 ชั่วโมง หรือ การที่ผู้ซื้อไม่ต้องชำระเงินก่อนที่สินค้าจะถึงมือผู้ซื้อ เป็นต้น
ช่วงเวลา 5-6 ปีที่ผ่านมา ภายหลังจากที่ผู้เขียนได้บุกเบิกบริการทางด้าน การประเมินมูลค่าทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property) และทรัพย์สินไม่มีตัวตน (Intangible Assets) ขึ้นเป็นครั้งแรกในประเทศไทย เกิดข้อค้นพบว่า เจ้าของกิจการที่เป็นเจ้าของเครื่องหมายการค้า (แบรนด์) ที่มีชื่อเสียง (Well-known Marks) มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ที่มีความต้องการทราบว่ามูลค่าเครื่องหมายการค้าของตนมีมูลค่ายุติธรรมเป็นเท่าใด ทั้งนี้เพื่อนำไปประกอบวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกัน อาทิเช่น เพื่อทดสอบการด้อยค่า (ตามมาตรฐานการบัญชี) เพื่อประกอบค่าอนุญาตให้ใช้สิทธิ์ (Licensing Fee)
ปัจจุบันเทรนด์การรักษาและห่วงใยสุขภาพยังคงได้รับความนิยมสูงขึ้น ทั้งมิได้จำกัดแค่กลุ่มผู้สูงอายุ หรือกลุ่มคนทำงานเท่านั้น กลุ่มผู้มีอายุน้อยที่ยังไม่มีปัญหาเรื่องสุขภาพก็ยังเล็งเห็นถึงความสำคัญ ในข้อนี้ ทั้งอาหารเพื่อสุขภาพ และเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ รวมถึงน้ำผลไม้พร้อมดื่ม ในปี 2554 ที่ผ่านมา ตลาดน้ำผลไม้พร้อมดื่ม มีมูลค่ามากกว่า 9,600 ล้านบาท แบ่งเป็น 4 กลุ่มหลักๆ คือ (1) น้ำผลไม้ระดับพรีเมี่ยม ประมาณ 4,000 ล้านบาท (2) น้ำผลไม้ระดับมีเดียม ประมาณ 600 ล้านบาท (3) น้ำผลไม้ระดับอีโคโนมี่ ประมาณ 3,000 ล้านบาท และ (4) น้ำผลไม้ระดับซุปเปอร์อีโคโนมี่ ประมาณ 2,000 ล้านบาท
น้ำมันพืชเป็นส่วนประกอบที่สำคัญในการประกอบอาหารของแม่บ้านหรือร้านค้า ในปี 2554 น้ำมันพืชมีมูลค่าตลาดประมาณ 25,000 ล้านบาท โดย น้ำมันปาล์ม ครองส่วนแบ่งการตลาดมากที่สุด ประมาณร้อยละ 65 รองลงมาคือ น้ำมันถั่วเหลือง ร้อยละ 25 น้ำมันรำข้าว ร้อยละ 7 และน้ำมันชนิดอื่นๆ อีกร้อยละ 3 ตามลำดับ โดยส่วนใหญ่แล้ว น้ำมันปาล์มเหมาะสำหรับอาหารประเภททอด น้ำมันถั่วเหลือง และน้ำมันชนิดอื่นเหมาะสำหรับอาหารประเภทผัด
ธุรกิจแก๊สหุงต้ม ถือว่าเป็นธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิตประจำวันของประชาชนทั่วไป เนื่องจากส่วนใหญ่แล้วต้องอาศัยแก๊สหุงต้มเป็นเชื่อเพลิงในการทำอาหาร แก๊สหุงต้มจึงนับได้ว่าเป็นสินค้าที่จำเป็นในการใช้ชิวิตประจำวัน เป็นสินค้าที่ขายง่าย ขายได้ทุกวัน ไม่ตกรุ่น และไม่เน่าเสีย ธุรกิจแก๊สหุงต้ม ถ้ามองในแง่ของผู้ประกอบการแล้ว สามารถแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มธุรกิจหลัก ได้แก่ (1) ธุรกิจปั๊มแก๊ส LPG และ (2) ธุรกิจร้านค้าแก๊ส